โฟมพอลิยูรีเทน (Polyurethane) สามารถลดปริมาณเลือดที่ไหลคั่งในช่องท้องของมนุษย์ได้ 6 เท่า และช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตได้ถึง 72% หรือคิดเป็น 3 ชม.หลังได้รับบาดเจ็บ กองทัพสหรัฐฯได้รับการสนับสนุนจากบริษัท Arsenal Medical (Watertown, MA) ในการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อห้ามเลือดที่เกิดจากการบอบช้ำภายในของเหล่าทหารเนื่องจากการรบ
“แน่นอนว่าไม่มีการปฐมพยาบาลใดๆที่สามารถลดอาการเลือดคั่งในช่องท้องเมื่ออยู่ท่ามกลางสนามรบได้” David King, MD ศัลยแพทย์แห่งโรงพยาบาล Massachusetts General (เป็นสถานที่ซึ่งเชี่ยวชาญด้านการรักษาผู้ผ่านสมรภูมิรบ) กล่าว “จุดมุ่งหมายสูงสุดของเราคือการค้นพบเทคโนโลยีซึ่งนำไปสู่การพัฒนาด้านการรักษาพยาบาลและช่วยชีวิตเหล่าทหารผู้ปกป้องประเทศ เฉกเช่นเดียวกับผู้ได้รับบาดเจ็บสาหัสจากเหตุการณ์ต่างๆ” ก่อนหน้านี้บริษัท Arsenal Medical ได้ทุนสนับสนุนต่อเนื่องในระยะที่สอง จาก Defense Advanced Research Projects Agency (DARPA) ในการพัฒนาวัสดุโฟมเพื่อควบคุมอาการเลือดคั่งภายใน ซึ่งทาง DARPA ได้เตรียมเงินทุนสนับสนุนโครงการนี้เป็นจำนวน 22.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
การฉีดของเหลวพอลีออล (Polyol) และไอโซไซยาเนต (isocyanate) เข้าสู่ช่องโพรงที่เกิดเลือดคั่งเป็นการกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาเคมี โดยเริ่มต้นด้วยการก่อตัวเป็นโฟมและขยายขนาดใหญ่ขึ้น 30 เท่าจากปริมาตรเริ่มต้น จนมีขนาดพอดีกับพื้นผิวเนื้อเยื่อที่เกิดบาดแผล จากนั้นโฟมจะกลายเป็นของแข็งที่ต้านการไหลของเลือดภายในโพรงนี้ได้ ซึ่งทาง DARPA ได้ทดสอบประสิทธิภาพของโฟมกับอาการเลือดคั่ง เลือดแข็งตัวและการต้านทานแรงเลือดไหลเมื่อเกิดการเสียเลือด ศัลยแพทย์สามารถย้ายโฟมออกจากช่องโพรงดังกล่าวได้ภายในไม่กี่วินาที ด้วยความพิเศษนี้บาดแผลจะทุเลาและสมานแผลได้เองบางส่วนไม่ว่าจะเป็นบาดแผลขนาดเล็กหรือใหญ่ที่บริเวณลำไส้ ม้ามและตับ โดยที่ไม่มีเลือดตกค้างภายในเนื้อโฟม
“การระงับบาดแผลด้วยวิธีนี้เป็นรูปแบบที่น่าทึ่งอย่างมาก เนื่องจากเราสามารถขับเคลื่อนสิ่งที่ไม่คาดคิดจากงานวิจัยพื้นฐานไปสู่การรักษาพยาบาลขั้นต้นอย่างได้ผลตามต้องการ ” Brian Hollyway ผู้จัดการโครงการ DARPA กล่าว “สอดคล้องกับงานวิจัยด้านการผ่าตัดขององค์กรกองทัพสหรัฐที่มองว่าการเสียเลือดมากในร่างกายเป็นสาเหตุให้ทหารเสียชีวิตกลางสนามรบได้ ดังนั้นโปรแกรมการระงับบาดแผล (Wound Stasis Program) จึงมีความพยามยามอย่างที่สุดที่จะเพิ่มอัตราการรอดชีวิตกลางสงคราม หากการทดสอบนี้ผ่านการรับรองแล้ว เทคโนโลยีด้านวัสดุโฟมจะมีผลต่อการรอดชีวิตเนื่องจากการบาดเจ็บในสมรภูมิรบได้ ทั้งนี้จะมีการศึกษาแบบจำลองโฟมกับบาดแผลสุกรก่อน
“แน่นอนว่าไม่มีการปฐมพยาบาลใดๆที่สามารถลดอาการเลือดคั่งในช่องท้องเมื่ออยู่ท่ามกลางสนามรบได้” David King, MD ศัลยแพทย์แห่งโรงพยาบาล Massachusetts General (เป็นสถานที่ซึ่งเชี่ยวชาญด้านการรักษาผู้ผ่านสมรภูมิรบ) กล่าว “จุดมุ่งหมายสูงสุดของเราคือการค้นพบเทคโนโลยีซึ่งนำไปสู่การพัฒนาด้านการรักษาพยาบาลและช่วยชีวิตเหล่าทหารผู้ปกป้องประเทศ เฉกเช่นเดียวกับผู้ได้รับบาดเจ็บสาหัสจากเหตุการณ์ต่างๆ” ก่อนหน้านี้บริษัท Arsenal Medical ได้ทุนสนับสนุนต่อเนื่องในระยะที่สอง จาก Defense Advanced Research Projects Agency (DARPA) ในการพัฒนาวัสดุโฟมเพื่อควบคุมอาการเลือดคั่งภายใน ซึ่งทาง DARPA ได้เตรียมเงินทุนสนับสนุนโครงการนี้เป็นจำนวน 22.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
การฉีดของเหลวพอลีออล (Polyol) และไอโซไซยาเนต (isocyanate) เข้าสู่ช่องโพรงที่เกิดเลือดคั่งเป็นการกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาเคมี โดยเริ่มต้นด้วยการก่อตัวเป็นโฟมและขยายขนาดใหญ่ขึ้น 30 เท่าจากปริมาตรเริ่มต้น จนมีขนาดพอดีกับพื้นผิวเนื้อเยื่อที่เกิดบาดแผล จากนั้นโฟมจะกลายเป็นของแข็งที่ต้านการไหลของเลือดภายในโพรงนี้ได้ ซึ่งทาง DARPA ได้ทดสอบประสิทธิภาพของโฟมกับอาการเลือดคั่ง เลือดแข็งตัวและการต้านทานแรงเลือดไหลเมื่อเกิดการเสียเลือด ศัลยแพทย์สามารถย้ายโฟมออกจากช่องโพรงดังกล่าวได้ภายในไม่กี่วินาที ด้วยความพิเศษนี้บาดแผลจะทุเลาและสมานแผลได้เองบางส่วนไม่ว่าจะเป็นบาดแผลขนาดเล็กหรือใหญ่ที่บริเวณลำไส้ ม้ามและตับ โดยที่ไม่มีเลือดตกค้างภายในเนื้อโฟม
“การระงับบาดแผลด้วยวิธีนี้เป็นรูปแบบที่น่าทึ่งอย่างมาก เนื่องจากเราสามารถขับเคลื่อนสิ่งที่ไม่คาดคิดจากงานวิจัยพื้นฐานไปสู่การรักษาพยาบาลขั้นต้นอย่างได้ผลตามต้องการ ” Brian Hollyway ผู้จัดการโครงการ DARPA กล่าว “สอดคล้องกับงานวิจัยด้านการผ่าตัดขององค์กรกองทัพสหรัฐที่มองว่าการเสียเลือดมากในร่างกายเป็นสาเหตุให้ทหารเสียชีวิตกลางสนามรบได้ ดังนั้นโปรแกรมการระงับบาดแผล (Wound Stasis Program) จึงมีความพยามยามอย่างที่สุดที่จะเพิ่มอัตราการรอดชีวิตกลางสงคราม หากการทดสอบนี้ผ่านการรับรองแล้ว เทคโนโลยีด้านวัสดุโฟมจะมีผลต่อการรอดชีวิตเนื่องจากการบาดเจ็บในสมรภูมิรบได้ ทั้งนี้จะมีการศึกษาแบบจำลองโฟมกับบาดแผลสุกรก่อน
Production of polyurethane foam within a human abdomen can cut blood loss six-fold and boost survival rate at three hours post-injury to 72%.
The U.S. military is studying the technology developed by Arsenal Medical (Watertown, MA) as a way to staunch blood loss from severe internal injuries suffered in combat.
"Currently, there are no effective pre-hospital treatments available for intra-abdominal bleeding on the battlefield," says David King, MD, a trauma surgeon at Massachusetts General Hospital with medical combat experience. "Our ultimate goal is to find innovative ways to improve treatment and save lives of those who are serving their country, as well as those who experience serious injury through trauma."
Earlier this month, Arsenal Medical was awarded a Phase II contract from the Defense Advanced Research Projects Agency (DARPA) to support continued development of its foam approach to control intra-abdominal hemorrhage. DARPA has provided $22.5 million for the program to date.
Liquid polyol and isocyanate are injected into the abdominal cavity, triggering two chemical reactions, starting with creation of foam that expands to approximately 30 times its original volume while conforming to the surfaces of injured tissue. Then the foam becomes solid, enabling it to resist intra-abdominal blood loss. According to DARPA, the foam can expand through pooled and clotted blood and withstand the hydrostatic force of an active hemorrhage.
Surgeons can remove the foam in one block in less than one minute. Features appearing in relief indicate partial encapsulation of the small and large bowels, spleen, and liver. There is no blood inside the foam.
"Wound Stasis has been an exciting program because we were able to move unexpectedly from fundamental research to a pre-clinical proof-of-concept based on the strength of our findings," says Brian Holloway, DARPA program manager. "According to the U.S. Army Institute of Surgical Research, internal hemorrhage is the leading cause of potentially survivable deaths on the battlefield, so the Wound Stasis effort should ultimately translate into an increased rate of survival among warfighters. If testing bears out, the foam technology could affect up to 50% of potentially survivable battlefield wounds.
Swine injury model data has been used to test the foam."
No comments:
Post a Comment